รายละเอียดสินค้า
รายละเอียดเพิ่มเติม
ชุดบอร์ด Micromation Dev Board V3 ESP32 Relay Board 9 Channel
New Micromation Dev Board V3
with ESP32 and RS-485 Auto Direction Module
New Micromation Dev Board V3
บอร์ดพัฒนา ESP32 พร้อมโมดูล RS-485 , OLED , Buzzer
บอร์ดประยุกต์สำหรับการเขียนโปรแกรมคอนโทรลที่สะดวกสำหรับใช้งานแบบอเนกประสงค์พร้อมกล่องมาตรฐาน IP54 เหมาะกับการสร้างต้นแบบหรือโครงงานระบบควบคุมอัตโนมัติ, งาน iot ,Port RS-485 สำหรับการสื่อสารผ่านสายระยะไกลกับอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่มีพอร์ตมาตรฐานเดียวกันผ่านโปรโตคอล เช่น Modbus-RTU , แหล่งจ่ายไฟ POWER IN และ POWER ISOLATOR ที่ต่อใช้งานสะดวกด้วย DC Jack มี Dual Buck Convertor สำหรับจ่ายไฟเลี้ยงกระแสตรงได้ตั้งแต่ 9 – 28 V และ จอแสดงผล OLED Display ขนาด 0.96″ แบบ I2C , Passive Magnetic Buzzer , Custom Switch พร้อม Output Relay 9 Channel และ Screw Terminal สำหรับการเชื่อมต่ออุปกรณ์ภายนอก
Specifications:
-
Power Join and Power Isolation Support
-
DC powered [ Power in ] DC 9-28V
-
DC powered [ Power isolation ] DC 9-28V
-
DC Jack Power [default] 5.5 x 2.1mm. Positive Porarity
-
Microcontroller Unit : Esp32 devkit v1
-
Maximum power consumption [join power and all relay active with Esp32 devkit v1] : ≤3.6W [@12V]
-
Port : RS-485 [Auto Direction], Custom Switch
- OLED Display 0.96″ IIC
- Passive Magnetic Buzzer
-
Output : 9 Channel Relay 10A [9 Normal open (NO), 4Normal close (NC)]
-
Board Material : FR-4
-
IP54 Enclosure : IMI-PLC-25
-
Dimensions : 125 x 120 x 43 mm.
-
Net. wt. 250 g.
Dimensions
Width : 125 mm. , Height : 90 mm. , Depth : 42 mm.
Power isolation : DC 9-28V [Terminal Screw]
มีจุดต่อ Power Join เพื่อให้ง่ายต่อการใช้งาน
และรองรับการใช้งานแบบ Power Isolation แยกแหล่งจ่ายไฟทั้งไฟบวกและกราวด์
ออกจากกันโดยสมบูรณ์ด้วย Opto-Isolator ช่วยให้การทำงานมีความเสถียร มีประสิทธิภาพ
และปลอดภัยมากขึ้นเพราะสามารถป้องกันไฟกระชากและสัญญาณรบกวน
ที่ส่งกระทบผลต่อการทำงานของส่วนควบคุม
รีเลย์ SRD-05-VDC-SL-C ทำงานแบบ Active High
เชื่อมต่อกับคอนโทรลเลอร์ไว้ล่วงหน้า
เพียงกำหนดลอจิกดิจิตอล ก็สามารถทำงานได้ทันที
Micromation Dev Board V3 มีรีเลย์ทั้งหมด 9 ตัว
รีเลย์ตัวที่ 1-4 มีสกรูเทอร์มินอล สำหรับต่อใช้งาน Normal Open (NO), Common (COM), Normal Close (NC)
รีเลย์ตัวที่ 5-9 มีสกรูเทอร์มินอล สำหรับต่อใช้งาน Normal Open (NO), Common (COM)
Common (COM) : ใช้เป็นจุดเชื่อมต่อร่วมที่ใช้ในทุกสถานการณ์
Normal Open (NO) : ใช้สำหรับเชื่อมต่ออุปกรณ์ที่ต้องการให้ทำงานเมื่อรีเลย์ทำงาน (Active)
Normal Close (NC) : ใช้สำหรับเชื่อมต่ออุปกรณ์ที่ต้องการให้ทำงานเมื่อรีเลย์ไม่ทำงาน (Inactive)
ตัวอย่างโค้ดสำหรับคอนโทรลรีเลย์
int relay1 = 23;
int relay2 = 19;
int relay3 = 18;
int relay4 = 32;
int relay5 = 25;
int relay6 = 26;
int relay7 = 14;
int relay8 = 33;
int relay9 = 27;
void setup() {
pinMode(relay1, OUTPUT);
pinMode(relay2, OUTPUT);
pinMode(relay3, OUTPUT);
pinMode(relay4, OUTPUT);
pinMode(relay5, OUTPUT);
pinMode(relay6, OUTPUT);
pinMode(relay7, OUTPUT);
pinMode(relay8, OUTPUT);
pinMode(relay9, OUTPUT);
}
void loop() {
digitalWrite(relay1, HIGH);
delay(200);
digitalWrite(relay1, LOW);
digitalWrite(relay2, HIGH);
delay(200);
digitalWrite(relay2, LOW);
digitalWrite(relay3, HIGH);
delay(200);
digitalWrite(relay3, LOW);
digitalWrite(relay4, HIGH);
delay(200);
digitalWrite(relay4, LOW);
digitalWrite(relay5, HIGH);
delay(200);
digitalWrite(relay5, LOW);
digitalWrite(relay6, HIGH);
delay(200);
digitalWrite(relay6, LOW);
digitalWrite(relay7, HIGH);
delay(200);
digitalWrite(relay7, LOW);
digitalWrite(relay8, HIGH);
delay(200);
digitalWrite(relay8, LOW);
digitalWrite(relay9, HIGH);
delay(200);
digitalWrite(relay9, LOW);
delay(500);
}
การต่อใช้งานรีเลย์
รูปแบบโหลดที่ใช้ไฟฟ้ากระแสสลับและไฟฟ้ากระแสตรง
Caution:
Be careful high voltages.
โปรดระมัดระวังการสัมผัสตัวบอร์ดเป็นอย่างมาก
เมื่อต่อใช้งานรีเลย์กับแหล่งจ่ายไฟแรงดันที่สูงขึ้น
จอแสดงผล OLED แบบ IIC/I2C ขนาดเล็กประหยัดพลังงาน
สามารถพลิกกลับด้านเพื่อปรับมุมมองให้สะดวกต่อการใช้งาน
การสลับขั้วแหล่งจ่ายไฟ [สามารถตั้งค่า ตำแหน่งใต้จอ]
ใช้ในกรณีจอทดแทนที่มีขั้วแหล่งจ่ายไฟมีความแตกต่างกันในการออกแบบที่ของต่างผู้ผลิต
โดยกำหนดว่า จะส่งออก ไฟบวก หรือ ไฟลบ ไปยัง Px …เพิ่มเติม
PASSIVE MAGNETIC BUZZER
Buzzer ขนาดเล็กที่ไม่มีออสซิลเลเตอร์ภายใน
โทนเสียงจะถูกสร้างขึ้นโดย Magnetic Buzzer
โมดูล Buzzer จะเชื่อมต่อกับ GPIO5 หรือ D5

Micromation Dev Board V3
ตัวอย่างโค้ดสำหรับ Buzzer
const int buzz = 5;
void setup(){
pinMode(buzz, OUTPUT);
}
void loop(){
analogWrite(buzz, 500);
delay(300);
analogWrite(buzz,0);
delay(200);
analogWrite(buzz, 100);
delay(50);
analogWrite(buzz, 50);
delay(50);
analogWrite(buzz,0);
delay(5000);
}
ตัวอย่างโค้ดสำหรับ Custom Push Button
const int buttonPin = 4;
const int ralay = 23;
int buttonState = 0;
void setup() {
Serial.begin(9600);
pinMode(ralay, OUTPUT);
pinMode(buttonPin, INPUT);
}
void loop() {
buttonState = digitalRead(buttonPin);
if (buttonState == HIGH) {
digitalWrite(ralay, HIGH);
Serial.println("on");
} else {
digitalWrite(ralay, LOW);
Serial.println("off");
}
}
Recommended Standard no. 485

Micromation Dev Board V3
RS-485 Communication
Add on RS-485 Module [Auto Direction]
พอร์ตสื่อสารระยะไกลที่สามารถเชื่อมต่อได้หลากหลาย
เช่น การเชื่อมผ่านโปรโตคอลระดับอุตสาหกรรมยอดนิยมอย่าง Modbus-RTU
กับเซ็นเซอร์ระดับมืออาชีพมากมายที่มีให้เลือกใช้
Module RS-485 เชื่อมต่อกับ UART2 [ TX2 , RX2 ]
สามารถใช้โค้ดตัวอย่างอุปกรณ์เหล่านี้เพื่อเชื่อมต่อ Micromation Dev Board V3
แรงดันไฟฟ้าที่ POWER OUT จะเชื่อมต่อ และสัมพันธ์กันกับ POWER IN
POWER OUT ช่วยให้สะดวกสำหรับใช้สำหรับจ่ายไฟให้อุปกรณ์ ‘485
โปรดแน่ใจว่าอุปกรณ์ภายนอกรองรับแรงดันนี้
ข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อมูลเพิ่มเติม
น้ำหนัก | 250 กรัม |
---|---|
ขนาดขนส่ง | 20 × 14 × 6 เซนติเมตร |
ประเภทสินค้า | บอร์ดพัฒนา |
ผู้ผลิต | iMicon System |
ผู้จัดจำหน่าย | ร้านอิมิคอนซิสเท็ม 14/44 ถ.ลำพูน-ป่าซาง ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ลำพูน |
วิธีใช้ | พัฒนาระบบอัตโนมัติ |
ข้อควรระวัง | โปรดตรวจสอบความถูกต้องในการต่อใช้งาน |
ราคา | ระบุ ณ จุดขาย |
ขนาดของสินค้า | 110 x 96 x 43 mm. |
คู่มือการใช้งาน
Attention:
Do not connect the power from USB port
and Power in at the same time
โปรดอย่าต่อแหล่งจ่ายไฟ POWER IN และ USB ในเวลาเดียวกัน
Caution:
Be careful high voltages.
โปรดระมัดระวังการสัมผัสตัวบอร์ดเป็นอย่างมาก
เมื่อต่อใช้งานรีเลย์กับแหล่งจ่ายไฟแรงดันที่สูงขึ้น
รูปแบบการต่อใช้แหล่งจ่ายไฟที่ ถูกต้อง และ ปลอดภัย ต่ออุปกรณ์
รูปแบบการต่อใช้แหล่งจ่ายไฟที่ทำให้อุปกรณ์เสียหาย
สินค้าภายในกล่อง
1. Micromation Dev Board V3
2. ESP32 DEVKIT V1 / NodeMCU
3. OLED Display 0.96″ IIC [BLUE]
4. IMI-PLC25 Din Rail/Wall Mount Enclosure with Nut
5. Micromation Dev Board V3 Documentation

Micromation Dev Board V3
ตัวอย่างการโปรแกรม
ขอแนะนำ
Micromation Dev Board V3 – Library
ไลบรารีนี้ออกแบบมาเพื่อให้ใช้งาน micromation dev board ได้ง่ายขึ้น
ด้วยโมดูลรีเลย์ ESP32, ระบบจัดการ wifi ในตัว,
หน้าเว็บ HTML ที่กำหนดเอง รองรับหน้าจอ OLED 3 หน้า
สวิตช์แบบกำหนดเอง, รีเลย์, RS485, buzzer
More info : https://github.com/imiconsystem/MicromationDevboardV3
ตัวอย่างโปรเจค
โค้ด Monitoring And Control ที่ใช้ใน Video
โปรเจค Weather Station Monitoring and Control | Micromation Dev Board V3
โปรแกรมคำสั่งนี้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่ออ่านค่าจากเซนเซอร์ RS485/Modbus ซึ่งประกอบด้วยเซนเซอร์ทั้งหมด 3 ตัว สำหรับวัดอุณหภูมิ/ความชื้น ความเร็วลม และทิศทางลม นอกจากนี้ยังสามารถควบคุมรีเลย์ทั้งหมด 9 ช่องพร้อม Buzzer สำหรับส่งเสียงแจ้งเตือนเมื่อมีการสั่งงานรีเลย์ ตัวอย่างนี้เป็นการเชื่อมต่อแบบ WiFi STA Mode สามารถแสดงผลและรองรับการควบคุมผ่านเว็บบราวเซอร์แบบ Real Time …เพิ่มเติม